หน้าหลัก
ITA
LPA
ประกาศจากระบบ e-GP
ประกาศจากระบบ e-GP ในเครือข่าย
องค์การบริหารส่วนตำบล นาพูน ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้
ยอมรับ
ม่อนเสาหินพิศวง
คำขวัญประจำตำบล
"ม่อนเสาหินเลื่องลือไกล น้ำใสห้วยแม่สิน
ถิ่นส้มเขียวหวาน สืบสานประเพณีแห่น้ำช้าง"
วิสัยทัศน์
“เมืองไม้เศรษฐกิจ วิถีชีวิตชุมชนพอเพียง
แหล่งท่องเที่ยวม่อนเสาหินพิศวง
ดำรงภูมิปัญญาวัฒนธรรม พัฒนาพลังงานทางเลือก
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
พร้อมนำชุมชนท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน”
คำขวัญประจำตำบล
"ม่อนเสาหินเลื่องลือไกล น้ำใสห้วยแม่สิน
ถิ่นส้มเขียวหวาน สืบสานประเพณีแห่น้ำช้าง"
วิสัยทัศน์
“เมืองไม้เศรษฐกิจ วิถีชีวิตชุมชนพอเพียง
แหล่งท่องเที่ยวม่อนเสาหินพิศวง
ดำรงภูมิปัญญาวัฒนธรรม พัฒนาพลังงานทางเลือก
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
พร้อมนำชุมชนท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน”
ม่อนเสาหินพิศวง
วิสัยทัศน์
“เมืองไม้เศรษฐกิจ วิถีชีวิตชุมชนพอเพียง
แหล่งท่องเที่ยวม่อนเสาหินพิศวง
ดำรงภูมิปัญญาวัฒนธรรม พัฒนาพลังงานทางเลือก
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
พร้อมนำชุมชนท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน”
ม่อนเสาหินพิศวง
คำขวัญประจำตำบล
"ม่อนเสาหินเลื่องลือไกล น้ำใสห้วยแม่สิน
ถิ่นส้มเขียวหวาน สืบสานประเพณีแห่น้ำช้าง"
องค์การบริหารส่วนตำบลนาพูน
อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่
www.napoon.go.th
สายตรงนายก
โทร 091-076-7646
1
2
3
 
สถานที่สำคัญ
 

ม่อนเสาหินพิศวง  (จังหวัด แพร่)
รูปชุดก่อน รูปชุดถัดไป
คลิกที่ภาพเพื่อขยาย

ลำดับภาพที่ 1/13

ลำดับภาพที่ 2/13

ลำดับภาพที่ 3/13

ลำดับภาพที่ 4/13

ลำดับภาพที่ 5/13

ลำดับภาพที่ 6/13

ลำดับภาพที่ 7/13

ลำดับภาพที่ 8/13

ลำดับภาพที่ 9/13

ลำดับภาพที่ 10/13

ลำดับภาพที่ 11/13

ลำดับภาพที่ 12/13

ลำดับภาพที่ 13/13
<<
>>
X
 
ชื่อสถานที่ : ม่อนเสาหินพิศวง
 
ที่ตั้ง : ตำบลนาพูน อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่
 
ข้อมูล : “ม่อนหินกอง” (ม่อนเสาหินพิศวง) ในบริเวณนี้เมื่อประมาณ 5 - 6 ล้านปีมาแล้ว เกิดการประทุของภูเขาไฟ พาเอาหินหนืดจากใต้เปลือกโลกไหลประทุขึ้นมาเป็นลาวา (lava) ของหินบะซอลด์ ปกคลุมพื้นผิวบริเวณนี้แล้วเกิดการเย็นตัวอย่างรวดเร็ว มีผลให้ส่วนของหินบะซอลด์ที่อยู่ตอนบนเกิดแรงดึงทุกทิศทุกทางจาก การหดตัวในขณะที่เย็นตัวลงทำให้เกิดรอยแตกรอยแยกที่ตั้งฉาก กับพื้นผิวจึงได้ลักษณะหินแตกเป็นหลายๆ เหลี่ยมคล้ายเสา (columnar) ตั้งตรงหรือล้มระเนระนาดบ้างอยู่ในบริเวณนี้นั่นเอง ม่อนหินกองนี้จึงเป็นเพียงปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา มิได้เป็นสิ่งอัศจรรย์ มีอิทธิฤทธิ์ หรือปาฏิหาริย์ สิ่งที่เกิดมาเป็นธรรมชาตินี้ เป็นสมบัติจากธรรมชาติที่ให้อนุชนได้เรียนรู้ จึงไม่สมควรที่จะรุกล้ำ image หักโค่นให้เป็นสมบัติส่วนตัวหรือนำไปกราบไหว้บูชาแต่อย่างใดการค้นพบในตำบลนาพูนเมื่อประมาณ 50 กว่าปีที่ผ่านมาได้มีคนมาจากสวรรคโลกเดินทางมาหา นายกิ โปด้วง ให้นำทางไปที่ม่อนหินกอง อ้างว่ามีลายแทง และว่าพวกมอญ พวกเงี้ยว เอาของดีมาซ่อนไว้ที่ม่อนหินกองแล้วเอาหินทับไว้ และนายกิ โปด้วง จึงได้นำทางนายเสริญ และนายน้อย ไปขุดหารายแทงนั้น พอขุดได้ 2 วันก็มีงูยาวประมาณ 1 เมตรมานอนบริเวณนั้นและการขุดหาลายแทงนั้น ทั้งนายเสริญและนายน้อยได้แต่สากครก 1 ชิ้นเท่านั้นและมีคำบอกเล่าว่าถ้าบุคคลใดเอาของอะไรก็ตามที่อยู่ในนั้นออกมา เชื่อว่าจะมีอันเป็นไป และพอขุดได้ไม่กี่วันนายเสริญก็ป่วยนายน้อยจึงพานายเสริญกลับบ้าน พอกลับไปถึงบ้านนายเสริญก็ตายและมีชาวบ้านบางรายเล่าว่าพอถึงวันพระจะได้ยินเสียงก้องเสียงกังวาลย์ดังขึ้นบริเวณม่อนหินกอง และมีชาวบ้านบางคนเคยเห็นลูกแก้วลอยขึ้นบริเวณม่อนหินกอง ลักษณะของม่อนหินกอง มีกองหินเรียงรายกันอยู่คล้ายกับเจดี มีอยู่ถึง 7 - 8 กอง มีรูปเป็นเหลี่ยม 5 เหลี่ยม และ 6 เหลี่ยม ซึ่งมีทั้งหมด 3 กองโดยมีความยาวและความสูงดังต่อไปนี้ กองที่ 1 มีความยาวประมาณ 10 เมตร สูงประมาณ 10 เมตร กองที่ 2 มีความยาวประมาณ 8 เมตร สูงประมาณ 10 เมตร กองที่ 3 มีความยาวประมาณ 8 เมตร สูงประมาณ 5 เมตร ม่อนหินกองตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ของ บ้านนาพูนพัฒนา หมู่ที่ 10 ตั้งอยู่ทางทิศ ตะวันออกของหมู่บ้านห่างจากหมู่บ้านประมาณ 3 กิโลเมตร ปัจจุบันบริเวณม่อนหินกองเป็นป่าอุดมสมบูรณ์ และมีลอยขุดเป็นหลุมเป็นบ่อซึ่ง มาจากการขุดของนายเสริญ และนายน้อย มาจนถึงทุกวันนี้ ความน่าสนใจ และความแปลกใหม่ เป็นสถานที่ชาวบ้านเคารพนับถือ และมีความเชื่อที่แตกต่างกันไป และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวระดับตำบล อำเภอ และจังหวัด และเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ พื้นที่ส่วนม่อนเสาหินพิศวง “ม่อนเจ้าอาจญา” ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ “เจ้าอาจญา” ผีที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาผีที่ชาวบ้านนับถือ มีลักษณะเป็นกลุ่มแท่งเสาหินสูงประมาณครึ่งช่วงตัวตั้งเรียงราย ทำมุมประมาณ 45 องศากับพื้นที่ “ม่อนเจ้าคำคือ” เป็นเสาหินก้อนหินจำนวนมาก มีทั้งตั้งตรง ล้มเอียง ตั้งเป็นกลุ่มกระจุก และกระจัดกระจายอยู่ทั่วบริเวณ สำหรับชื่อม่อนตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่เจ้าคำคือ ผีอีกตนหนึ่งที่ชาวบ้านนั้บถือ บาตรรับเหรียญที่ม่อนสะเดาะเคราะห์ “ม่อนสะเดาะเคราะห์” เป็นก้อนหินเรียงตัวเป็นทางเดิน และมีแอ่งคล้ายบ่อน้ำ ชาวบ้านเชื่อว่าเป็นบ่อเงินบ่อทอง ในบ่อมีบาตรวางอยู่ให้ผู้สนใจโยนเหรียญลงในบาตรเพื่อสะเดาะเคราะห์ และ “ม่อนเสาหินพิศวง” ม่อนไฮไลท์ ที่เป็นแท่งหินสูงประมาณ 3 เมตร เรียงตัวติดกันเป็นคูหาห้อง ชาวบ้านที่นี่เชื่อว่านี่คือพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์จึงมีคนมาบนบานศาลกล่าวและนำธูปเทียนมาเคารพสักการะที่ม่อนแห่งนี้ ขอขอบคุณข้อมูลจาก >>> www.phrae.go.th/tem/tip/nature_phrae/nature4.html
 
 
ผู้เข้าชม 1450 ท่าน         
 
 

 
 
 
เริ่มนับ วันที่ 29 มิ.ย. 2559